Page 20 - คู่มือ การปฏิบัติงานสารบรรณ
P. 20

19



                                         จึงเรียนชี้แจงมาเพื่อโปรดเข้าใจตามนี้ด้วย
                           ค ายืนยัน     จึงขอเรียนยืนยันมาเพื่อทราบ

                                         จึงขอเรียนยืนยันข้อตกลงดังกล่าวมา ณ ที่นี้
                           ค าสั่ง       จึงเรียนมาเพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติต่อไป

                                         จึงเรียนมาเพื่อด าเนินการต่อไป

                           ค าเตือน      จึงขอเรียนเตือนมาเพื่อโปรดด าเนินการเรื่องนี้ให้เสร็จโดยด่วนด้วย
                                         บัดนี้ล่วงเลยมานานแล้ว ยังไม่ได้รับรายงานเกี่ยวกับเรื่องนี้แต่ประการใด จึงขอเรียน

                  เตือนมา บัดนี้ถึงก าหนดช าระค่าธรรมเนียมแล้ว จึงขอได้โปรดน าเงินจ านวน................. บาท ไปช าระภายใน

                  วันที่........................................................
                           ค าก าชับ     จึงเรียนมาเพื่อจัดได้ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวโดยเคร่งครัดต่อไป

                                         จึงเรียนมาเพื่อโปรดก าชับเจ้าหน้าที่ให้ระมัดระวังมิให้เกิดกรณีเช่นนี้ ขึ้นอีก

                           ค าถาม        จึงเรียนมาเพื่อขอทราบว่า.........................................
                           ค าหารือ      จึงขอเรียนหารือมาว่า...............................................

                                         จึงเรียนมาเพื่อพิจารณาวินิจฉัย แล้วแจ้งผลให้ทราบด้วยจะขอบคุณมาก


                  การร่างหนังสือ
                           การร่างหนังสือ คือการเรียบเรียงข้อความขั้นต้นตามเรื่องที่จะแจ้งความประสงค์ไปยังผู้รับหรือผู้ที่

                  ต้องการทราบหนังสือนั้น ก่อนที่จะใช้จัดท าเป็นต้นฉบับ

                           เหตุที่ต้องร่างหนังสือ เพื่อให้มีการตรวจแก้ไขให้เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบแบบแผนเสียก่อน เว้น
                  แต่หนังสือที่เป็นงานประจ าปกติอาจไม่ต้องเสนอตรวจแก้ก็ได้

                           หลักการร่างหนังสือ คือ ผู้ร่างจะต้องรู้และเข้าใจให้แจ่มแจ้ง แยกประเด็นที่เป็นเหตุผลและความมุ่ง

                  หมายที่จะท าหนังสือนั้น โดยตั้งหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องที่จะร่างว่า อะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน ใคร ท าไม อย่างไร เป็นข้อๆ
                  ไว้การร่างให้ขึ้นต้นเริ่มใจความที่เป็นเหตุก่อน ต่อไปจึงเป็นข้อความที่เป็นความประสงค์และข้อตกลง ถ้ามีหลาย

                  ข้อให้แยกเป็นข้อๆ เพื่อให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย ความใดอ้างถึงบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ค าสั่ง หรือ

                  เรื่องตัวอย่าง ต้องพยายามระบุให้ชัดเจน พอที่ฝ่ายผู้รับจะค้นหามาตรวจสอบได้สะดวก การร่างควรใช้ถ้อยค าสั้น
                  แต่เข้าใจง่าย พยายามใช้ค าธรรมดาที่มีความหมายได้หลายทาง ส านวนที่ไม่เหมาะสมส าหรับใช้เป็นส านวน

                  หนังสือ ไม่ควรใช้ ควรระวังอักขรวิธี ตัวสะกด การันต์ และวรรคตอนให้ถูกต้อง ข้อส าคัญต้องระลึกถึงผู้ที่จะรับ
                  หนังสือว่าเข้าใจถูกต้องตามความประสงค์ที่มีหนังสือไป

                           การร่างหนังสือโต้ตอบ จะต้องร่างโดยมีหัวข้อตามแบบที่ก าหนดไว้ผู้ร่างจะต้องพิจารณาด้วยว่า

                  หนังสือนั้นควรจะถึงใครบ้าง หรือควรจะท าส าเนาให้ใครทราบบ้าง เป็นการประสานงานแล้วบันทึกไว้ในร่างด้วย
                  การอ้างเท้าความต้องพิจารณาว่า เรื่องที่จะร่างนี้ผู้รับหนังสือทราบมาก่อนหรือไม่ถ้าเคยทราบมาก่อนแล้วความ

                  ตอนใดที่เป็นเหตุก็ย่อลงได้ หรือถ้าเป็นการตอบหนังสือที่ผู้รับมีมา ข้อความเป็นเหตุเพียงแต่อ้างชื่อเรื่องก็พอ การ
                  ร่างหนังสือไม่ว่าจะร่างถึงผู้ใดก็ตาม ให้ใช้ถ้อยค าสุภาพ และสมกับฐานะของผู้รบ ถ้าเป็นการปฏิเสธค าขอควรแจ้ง


                                                            คู่มือการปฏิบัติงานสารบรรณ : มะลิวรรณ [ปรับปรุง มีนาคม 2564]
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25