Page 16 - คู่มือ การปฏิบัติงานสารบรรณ
P. 16

15



                  การท าส าเนาเอกสาร
                           ส าเนา คือ เอกสารที่จัดท าขึ้นเหมือนกับต้นฉบับ ไม่ว่าจะท าจากต้นฉบับ ส าเนาคู่ฉบับ หรือจากส าเนา

                  อีกชั้นหนึ่ง ในกรณีมีความจ าเป็นต้องใช้เอกสารราชการนั้นๆ เพิ่มขึ้น และไม่ได้จัดท าไว้หลายฉบับจ าเป็นต้อง
                  จัดท าส าเนาขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการพิจารณาของทางราชการท าได้ดังนี้

                           1. จัดท าพร้อมต้นฉบับ เช่น พิมพ์ต้นฉบับพร้อมส าเนาด้วยการใช้กระดาษคาร์บอน

                           2. วิธีถ่ายจากต้นฉบับ เช่น การถ่ายด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร
                           3. วิธี Scan ด้วยคอมพิวเตอร์

                           ส าเนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

                           1. “ส าเนาคู่ฉบับ” เป็นส าเนาที่จัดท าพร้อมกับต้นฉบับ และเหมือนต้นฉบับ ผู้ลงลายมือชื่อในต้นฉบับ
                  จะลงลายมือชื่อไว้ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อไว้ที่ข้างท้ายขอบล่างด้านขวาของหนังสือ

                           2. “ส าเนา” เป็นส าเนาที่ส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่จัดท าขึ้น ส าเนานี้อาจท าขึ้นด้วยการถ่าย คัด อัด

                  ส าเนา หรือด้วยวิธีอื่นใด ส าเนาชนิดนี้โดยปกติต้องมีการรับรองความถูกต้องด้วย
                           การรับรองส าเนา ให้มีค ารับรองว่า “ส าเนาถูกต้อง” โดยให้เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 หรือเทียบเท่า ขึ้น

                  ไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่องที่ท าส าเนานั้น ลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจง ต าแหน่งและวัน เดือน ปี ที่
                  รับรอง และโดยปกติให้มีค าว่า “ส าเนา” ไว้ที่กึ่งกลางหน้าเหนือบรรทัดแรกของส าเนาหนังสือด้วย

                  หนังสือที่หน่วยงานจัดท าขึ้นควรมีสาเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่หน่วยงาน ต้นเรื่อง 1 ฉบับ และมีชื่อเรื่อง ผู้ร่าง ผู้พิมพ์
                  และผู้ตรวจ ไว้ที่ข้างท้ายขอบล่างด้านขวาของหนังสือ

                           หนังสือที่มีภาควิชา/หน่วยงานอื่นเกี่ยวข้องด้วย ถ่ายส าเนาแจ้งไปให้ทราบด้วยโดยท าเป็นหนังสือ

                  ประทับตรา หรือรองคณบดีฝ่ายบริหารลงนามแล้ว
                           การรับรองส าเนาถูกต้อง ให้เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ 2 หรือเทียบเท่าขึ้นไปที่เป็นเจ้าของเรื่องลงลายมือ

                  ชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจงและต าแหน่งที่ขอบล่างของหนังสือด้วย


                  การเก็บหนังสือราชการ

                           การเก็บหนังสือราชการ แบ่งออกเป็นการเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้วและการเก็บ

                  ไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
                           การเก็บระหว่างปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จให้อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าของ

                  เรื่อง โดยให้ก าหนดวิธีการเก็บให้เหมาะสมตามขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ประการส าคัญจะต้องจัดแฟ้มส าหรับ
                  เก็บไว้ให้เพียงพอ อาจมีแฟ้มดังนี้

                           1. แฟ้มก าลังด าเนินการ บรรจุเรื่องที่อยู่ระหว่างปฏิบัติ หรือยังจัดท าไม่เสร็จตามภาระหน้าที่ (ใช้แฟ้ม

                  เดียวก็พอ)
                           2. แฟ้มรอตอบ เรื่องในแฟ้มนี้ระบายมาจากแฟ้มก าลังจัดท าเป็นเรื่องที่ปฏิบัติเสร็จในภาระหน้าที่ของ

                  เจ้าหน้าที่ขั้นตอนหนึ่งแล้ว แต่เรื่องยังปฏิบัติไม่จบต้องรอการตอบจากส่วนราชการอื่นอยู่




                                                            คู่มือการปฏิบัติงานสารบรรณ : มะลิวรรณ [ปรับปรุง มีนาคม 2564]
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21