Page 2 - คู่มือ การปฏิบัติงานสารบรรณ
P. 2
คู่มือการปฏิบัติงานสารบรรณ
การปฏิบัติงานในส านักงานของบุคลากรระดับปฏิบัติการนั้น เป็นการปฏิบัติงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับ
บุคคลและเอกสาร จึงต้องอาศัยความอดทน ความขยัน และความจ าส่วนตัวพอสมควร เป็นหลักส าคัญในการ
ปฏิบัติหน้าที่ เพราะการท างานที่เกี่ยวข้องกับเอกสารนั้นจะเกี่ยวกับหนังสือราชการ ทั้งที่เป็นหนังสือราชการ
ภายในและหนังสือราชการภายนอก ซึ่งมีหลายรูปแบบที่ต้องด าเนินการ เช่น การโต้ตอบหนังสือราชการ การ
ร่างหนังสือขอความอนุเคราะห์ ขอความร่วมมือ การร่างหนังสือเชิญประชุมและวาระการประชุม การน าเสนอ
การจัดเก็บเอกสารเป็นหมวดหมู่ทั้งที่เป็นกระดาษและเป็นไฟล์ในระบบคอมพิวเตอร์ ฯลฯ จึงต้องมีการจัด
ระบบงานเอกสารที่ดีจึงจะประสบความส าเร็จในการบริหารงานเอกสารและเป็นการช่วยจ าได้อีกด้วย
ความส าคัญและขอบข่ายของงานสารบรรณ
1. ขอบข่ายของงานสารบรรณ
1.1 รับ-ส่ง หนังสือ
1.2 ร่างหนังสือ
1.3 พิมพ์หนังสือ
1.4 ผลิตส าเนาเอกสาร
1.5 จัดเก็บเอกสาร/แฟ้มเสนอ
1.6 บันทึกเสนอหนังสือ
1.7 ตรวจทานหนังสือ
1.8 การท าลายหนังสือ
2. ความส าคัญของงานสารบรรณ
2.1 เป็นด่านหน้าของหน่วยงาน
2.2 เป็นหน่วยสนับสนุน
2.3 เป็นหน่วยบริการ
3. บทบาทของเจ้าหน้าที่งานสารบรรณ
3.1 ต้องรู้ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
3.2 ต้องมีมนุษยสัมพันธ์
3.3 ต้องมีน้ าใจเกื้อกูล
3.4 ต้องมีความรอบคอบ
3.5 ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
4. ความรู้ที่งานสารบรรณควรมี ได้แก่
4.1 ความรู้เรื่องระเบียบงานสารบรรณของส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.
2526 และ 2548
คู่มือการปฏิบัติงานสารบรรณ : มะลิวรรณ นาค ามูล [ปรับปรุง มีนาคม 2564]